0610367888  0907099666  

cancer
การวินิจฉัยเนื้องอกที่เนื้อเยื่ออ่อน

  ช่วงระยะแรก ผู้ป่วยทั้งมะเร็งชนิดbenignกับมะเร็งชนิดร้ายแรงไม่ค่อยมีอาการทางร่างกายแสดงออกอย่างชัดเจน จนถึงระยะสุดท้ายผู้ป่วยมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อนอาจมีอาการเช่นต่อไปนี้แสดงออก ตัวร้อน เลือดจาง ไม่เจริญอาหาร ผอมลง น้ำหนักลดลงเป็นต้น การแบ่งแยกระหว่างมะเร็งชนิดbenignกับมะเร็งชนิดร้ายแรงไม่ยาก สามารถแบ่งตามอาการแสดงออกทางคลินิคกับประวัตโรค ประกอบกับวิธีตรวจต่อไปนี้จะสามารถวินิจฉัยได้อย่างชัดเจน ซึ่งมีเนื้อหาแก่นได้แก่


มะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน,การวินิจฉัยมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน,โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว


  การวินิจฉัยมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน

  1.การตรวจโดยใช้ภาพถ่ายทางรังสีเอกซ์เรย์:ภาพถ่ายทางรังสีเอกซ์เรย์จะช่วยเข้าใจบริเวณที่เกิดเนื้องอกเนื้อเยื่ออ่อน ความโปร่งใสและความสัมพันธ์กับกระดูกข้างเคียงได้ดี หากขอบเขตชัดเจน ส่วนใหญ่จะหมายถึงเนื้องอกนั้นเป็นมะเร็งชนิดไม่อันตราย (benign) หากขอบเขตชัดเจนและมีการกลายปูน จะหมายถึงเนื้องอกเป็นมะเร็งร้ายแรง ส่วนใหญ่จะเป็นSynovial sarcoma หรือ Rhabdomyosarcomaต่างๆ

  2.การตรวจโดยภาพถ่ายอัลตร้าซาวด์:วิธีนี้สามารถตรวจปริมาณของเนื้องอก ขอบเขตของแคปซูลและเสียงสะท้อนจากข้างในของเนื้องอก ครั้นแล้วก็จะสามารถแบ่งแยกมะเร็งเป็นชนิดbenignหรือชนิดร้ายแรง เนื้องอกร้ายแรงปริมาณใหญ่ขอบเขตไม่ชัด เสียงสะท้อนเลือน เช่นมะเร็งSynovial sarcomaมะเร็งRhabdomyosarcomaกับมะเร็งMalignant fibrous histiocytomaเป็นต้น การตรวจด้วยถ่ายภาพ

  อัลตร้าซาวด์ยังสามารถช่วยชี้นำเพื่อเจาะส่วนลึกของเนื้องอกด้วยแข็มและดุดเซลล์ของเนื้องอกเอาไปตรวจ

  3.การตรวจโดยภาพถ่ายเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ - CT (computed tomography scan) : เนื่องจากซีทีมีความละเอียดสูงในด้านความหนาแน่นและช่องว่างของเนื้องอก ช่วงหลายปีนี้ได้ใช้วิธีนี้วินิจฉัยโรคมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อนป่อย

  4.ภาพถ่ายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า MRI (magnetic resonance imaging scan):ใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตรวจและวินิจฉัยมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อนชนิดร้ายแรงสามารถเสริมส่วนที่ขาดต่อบกพร่องของการตรวจด้วยรังสีเอกสเรย์หรือเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ มันแสดงบริเวณทั้งหมดของเนื้อเยือที่เป็นมะเร็งระดับเดียวกัน สำหรับภาพถ่ายของเนื้องอกหลังเยื่อบุช่องท้อง เนื้องอกที่ขยายตัวจะกระดูกเยิงกรานไปยังสะโพกหรือต้นขา เนื้องอกส่วนแอ่งด้านหลังของหัวเข่าและขนาดของเนื้องอกลุกลามกระดูกหรือไขกระดูกจะยิ่งชัด เป็นหลักฐานที่ดีมากในการกำหนดแผนทางการแพทย์

  5.การตรวจทางพยาธิวิทยา

  (1)การตรวจเซลล์:เป็นวิธีตรวจทางพยาธิวิทยาที่ง่าย เร็ว ถูกต้องเหมาะสมกับอาการต่อไปนี้ ①เนื้องอกได้เป็นแผล ใช้วิธีเก็บเซลล์ด้วยเปื้อนหรือBlade②เนื้องอกเนื้อเยื่ออ่อนทำให้ทรองอกมีน้ำต้องใช้ตัวอย่างสด ต้องให้มันเร่งรัดโดยการหมุนเหวี่ยงทันที แล้วทำเปื้อน ③เจาะเปื้อนตรวจ เหมาะสมกับเนื้องอกที่มีปริมาณค่อนข้างใหญ่ ลึกและเตรียมจะทำการฉายรังสีหรือเคมีบำบัด ก็เหมาะสมกับตำแหน่งเนื้องอกที่ได้กระจายและเป็นซ้ำ

  (2)การตัดชิ้นเนื้อโดยคีมหนีบ(Biopsy forceps):เนื้อเยื่ออ่อนได้เป็นแผล และทำเปื้อนจะไม่สามารถวินิจฉัยได้อย่างถูกต้อง สามารถทำการตรวจด้วยตัดชิ้นเนื้อโดยคีมหนีบ

  (3)การตัดชิ้นเนื้อโดยวิธี incisional biopsy:มักจะใช้ในการผ่าตัด

  (4)การตัดชิ้นเนื้อโดยวิธี excisionalbiopsy:เหมาะสมกับเนื้องอกที่ปริมาณค่อนข้างเล็ก สามารถตัดออกเนื้องอกและเนื้อเยื่อรอบๆของเนื้องอก แล้วส่งไปตรวจทางพยาธิวิทยา

  เนื่องจากที่มาของเนื้อเยื่อของเนื้องอกเนื้อเยื่ออ่อนค่อนข้างซับซ้อน ชนิดหลากหลายมากมาย เวลาวินิจฉัยโรค นอกจากHE stainingธรรมดาแล้ว ส่วนใหญ่ต้องอาศัยเครื่องมือImmunohistochemistry ซึ่งมีชื่อย่อคือ IHCหรือกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนช่วยตรวจวินิจฉัย

  ผู้เชี่ยวชาญของโรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กวางโจวขอเตือน:หากพบมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อนได้เร็ว ผลลัพธ์ที่ได้ก็จะดียิ่งขึ้น หากรู้สึกถึงความผิดปกติของร่างกาย ต้องรีบตรวจและปรึกษาแพทย์ทันที

คำหลัก: มะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน,การวินิจฉัยมะเร็งเนื้อเยื่ออ่อน,โรงพยาบาลมะเร็งสมัยใหม่กว่างโจว

ติดตามข้อมูลข่าวสารและเกร็ดความรู้ดีๆจากเราได้ที่

หากมีข้อสงสัย สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่

*หมายเหตุ : ผลลัพธ์จะขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของแต่ละบุคคล

ชื่อ นามสกุล *

เลือกประเภทโรค *

เบอร์โทรศัพท์ *

มีผลการตรวจหรือไม่ *

ติดต่อเรา
คำถามที่พบบ่อย
เข้าร่วมงานสัมมนา

*ประกาศ : การผ่าตัดจะให้ผลลัพธ์ที่ค่อนข้างดีต่อมะเร็งระยะแรก ที่เป็นมะเร็งชนิดเป็นก้อน (Solid Tumor) แต่อาจจะไม่เหมาะในการใช้กับมะเร็งระยะสุดท้าย สำหรับผู้ป่วยระยะกลาง ไปจนถึงระยะสุดท้ายที่มีภูมิต้านทานในร่างกายต่ำ เทคโนโลยีแบบบาดแผลเล็ก บูรณาการร่วมกับการคีโมและการฉายแสง จะช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานและลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้ป่วย ช่วยให้ผู้ป่วยได้รับผลลัพธ์ที่ดีมากยิ่งขึ้น